Tagged: android studio

Android Studio : Cannot resolve symbol HttpGet,HttpClient,HttpResponce

บางครั้งที่เราเรียกใช้ HttpGet, HttpClient แล้วพบว่าเกิด Error ไม่สามารถเรียกใช้ได้ ถึงแม้ว่าจะมีการ import class ดังตัวอย่าง import org.apache.http.client.ClientProtocolException; import org.apache.http.client.HttpClient; import org.apache.http.client.ResponseHandler; import org.apache.http.client.methods.HttpGet; import org.apache.http.impl.client.BasicResponseHandler; import org.apache.http.impl.client.DefaultHttpClient; แนวทางแก้ไขเบื้องต้นคือ เข้าไปเพิ่ม library ใน gradle ดังนี้ android { … useLibrary ‘org.apache.http.legacy’ …...

Android Studio : How to Compare String

ในการเปรียบเทียบตัวแปรจาก String ซึ่งปกติเราจะเปรียบเทียบโดยใช้เครื่องหมาย “==” or “!=” ดังตัวอย่าง String s1 = “abc” ; if ( s1 == “abc” ) { result = true; } else { result = false; } แต่ในบางครั้งที่ข้อความ String ที่นำมาเปรียบเทียบไม่ได้เป็นค่าคงที่ที่กำหนดเอง อาจทำให้การเปรียบเทียบ String...

Android Studio : How to trim string remove white space

ในบางกรณีที่เราประมวลผลบางอย่างแล้วได้ผลลัพธ์เป็น String แต่ปรากฎว่าใน String ที่เราได้มีอักขระพิเศษที่มองไม่เห็น เช่น “\n”, “\c”, “\r” เป็นต้น ตัวอย่างเช่น เรามีการเรียกใช้ฟังก์ชัน HttpGet(URL) แล้วเก็บผลลัพธ์จาก URL ลงในตัวแปร ซึ่งจะพบว่ามี white space ติดมาโดยอัตโนมัติ String res = “”; HttpGet httpget = new HttpGet(url); ResponseHandler<String> responseHandler = new BasicResponseHandler();...

Android Studio : How to get xml Strings within a BaseAdapter

วันนี้เราจะมาพูดถึงการเรียกใช้ตัวแปรใน XML Strings โดยเรียกจาก public class แบบ BaseAdapter ซึ่งปกติจะไม่สามารถเรียกใช้ตัวแปรจาก XML Strings ตรงๆได้ แต่เรามีวิธีเรียกใช้อ้อมนิดนึง โดยการเพิ่ม Context parameter ใน public class แล้วส่งค่าเข้ามาจาก Activity ที่เรียกใช้ class BaseAdapter ก่อน จากนั้นค่อยใช้ Context ที่ส่งเข้ามาเรียกตัวแปรใน XML Strings อีกที ดังตัวอย่าง Original public...

Android : Error:(43) Error: Expected resource of type raw [ResourceType]

สำหรับข้อความ Error “Error:(43) Error: Expected resource of type raw [ResourceType]” ข้อความนี้บอกว่ามีการเรียกใช้ไฟล์ผิดประเภท ตัวอย่างเช่น … gifInputStream = context.getResources().openRawResource(titanic); … จากโค้ดมีการเปิดไฟล์ RAW ชื่อ titanic แต่ปรากฎว่าไฟล์ titanic นี้เก็บอยู่ในโฟลเดอร์ “drawable” ซึ่งเป็นโฟลเดอร์ที่เราใช้เก็บไฟล์รูปภาพทั่วไป เพราะฉะนั้นการเรียกไฟล์ titanic ก็ไม่สามารถเปิดใช้ไฟล์แบบ RAW ได้ ควรจะเรียกใช้แบบนี้แทน R.drawable.titanic แต่ทว่า...

Android Studio : Error:(2) Attribute “titleTextStyle” has already been defined

ข้อความผิดพลาดที่เกิดขึ้น “Error:(2) Attribute “titleTextStyle” has already been defined” เรามักจะพบตอนอัพเดท android studio version ซึ่งมีการตรวจสอบ android code เพิ่มขึ้น สำหรับข้อผิดพลาดนี้เกี่ยวพันกับ Google Service module “com.google.android.gms:play-services” ซึ่งมีการเรียกใช้ใน build.gradle จากตัวอย่าง ให้เราเปิดไฟล์ build.gradle (Module : …) แล้วดูบรรทัดภายใต้ dependencies { … compile...